เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic:หน่วยภูมิปัญญา
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและ เห็นคุณค่าของการนำภูมิปัญญาดังเดิมมาพัฒนาต่อพร้อมทั้งปรับใช้กับการดำรงชีวิตของตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)



ภูมิหลังของปัญหา ในสังคมปัจจุบันการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความเปลี่ยนแปลงและแตกต่างไปจากเมื่อก่อน เนื่องด้วยระบบเทคโนโลยี ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการชีวิตมนุษย์ ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ได้โดยใช้เวลาเพียงเล็กน้อย แต่สิ่งเหล่านี้กลับต้องแลกมาพร้อมกับราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย และมนุษย์ส่วนใหญ่ได้มองข้ามภูมิปัญญาดังเดิมของตนเองที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ ซึ่งกระบวนการสำคัญที่สามารถทำให้การใช้ชีวิตของมนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล  และเนื่องจากภูมิปัญญา คือพื้นฐานความรู้ ความสามารถและพฤติกรรมที่แต่ละคนได้รับสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เพื่อใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับสมดุลของธรรมชาติ  อาทิเช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตำรายาพื้นบ้าน  ซึ่งภูมิปัญญาประเภทนี้เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของคนในอดีตและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นหลัง โดยถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก  ถือว่าเป็นปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ หากได้รับการพัฒนาหรือส่งเสริมจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจต่อการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับ แนวความคิดและภูมิปัญญาต่างๆ เพื่อนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป


เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding Goals)  : เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและ เห็นคุณค่าของการนำภูมิปัญญาดังเดิมที่มีอยู่มาปรับใช้กับการดำรงชีวิตของตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล

คำถามหลัก (ฺBig question)  : 
                          -  ภูมิปัญญามีความสำคัญอย่างไร ?

                          - ภูมิปัญญาดั่งเดิมมีผลต่อวิถีการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร ?

ตารางวิเคราะห์วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้  

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
- ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน

มาตรฐาน
- อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพ
(1.2 ม.3/5)
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ(2.1 ม.3/1)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1 ม.3/9)

มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
(1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลา(1.1 ม.3/9)
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม(1.2 ม.3/1)
มาตรฐาน พ1.1
- เปรียบเทียบการเปลี่ยน
แปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(1.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ง1.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
­- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)



มาตรฐาน 1.2
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)





เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา


- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล
(1.2 ม.3/2)
เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น
(2.1 ม.3/1)
- ร้องเพลง  เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง
(2.1 ม.3/2)
- แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ
 (2.1 ม.3/3)
­- อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง(2.1 ม.3/4)
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น (2.1 ม.3/5)
 - มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง
(3.1 ม.3/3)
- ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ(3.1 ม.3/6)            




เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
- ภูมิปัญญาด้านประเพณีและวัฒนธรรม


มาตรฐาน
- อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ
(2.1 ม.3/4)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
(8.1 ม.3/4)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1 ม.3/9)

มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ  (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
 (1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลา(1.1 ม.3/9)
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม(1.2 ม.3/1)
มาตรฐาน พ1.1
- เปรียบเทียบการเปลี่ยน
แปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(1.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ง1.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
­-  อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
-  มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)



มาตรฐาน 1.2
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)
- วิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ ได้อย่างมีเหตุผล   ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ (ส4.1ม.3/1)
 - วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์  ในด้านต่างๆ
(ส4.3 ม.3/1)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
(ส4.3 ม.3/2)

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา





มาตรฐาน 4.3
- วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพลต่อการพัฒนา
ชาติไทย(ส4.3 ม.3/3)
- วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย (ส4.3 ม.3/4)
- ภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย

- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
(8.1 ม.3/4)
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ  ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ(8.1 ม.3/6)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(8.1 ม.3/9)
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ  (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
 (1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้
- วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์ อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก
(1.1 ม.3/2)
- อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(1.1 ม.3/3)



- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
-  อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
-  มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)




สิ่งที่รู้แล้ว / สิ่งที่อยากเรียนรู้
                            


ปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์

Week
input
Process
Output
Outcome




12 – 13


โจทย์
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการประดิษฐกรรม (งานจักสาน งานปั้น งานวาด งานสร้างสิ่งก่อสร้าง)
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่า งานจักสานเหล่านี้ มีความเกี่ยวข้องกับพวกเราและคนอื่นๆย่างไร
- นักเรียนคิดว่า เราสามารถนำงานจักสานเดิมที่มีอยู่ ไปพัฒนาต่อและใช้ประโยชน์จริงได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามและสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง อาทิเช่น คลิป VDO เครื่องจักรสานไทย Siam”  
งานสานประเภท งาไซดักปลา กระบุง กระด้ง ฯลฯ
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำงานจักสานเดิมที่มีอยู่ในปัจจุบันไปพัฒนาต่อและใช้ประโยชน์ได้จริง
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป VDO เครื่องจักรสานไทย Siam”
- เรื่องเล่าปลาตะเพียน
- ตอก สำหรับสาน
- คุณตาพี่โอม (ผู้เชี่ยวชาญด้านงานสาน)
 - ดูคลิป VDO เครื่องจักรสานไทย Siam”
- ฟังเรื่องเล่าปลาตะเพียน
- ออกแบบงานสานที่ตนเองรู้จัก คนละ 1 ชิ้น
- เล่าถึงความสัมพันธ์ระหว่างงานสานของแต่ละคนกับตัวเองให้เพื่อนและครูได้ร่วมฟัง
- ร่วมสังเกตและวิเคราะห์งาน
จักสานประเภท งาไซดักปลา กระบุง กระด้ง ฯลฯ
- ฟังเรื่องเล่าความเป็นมาจากคุณตาพี่โอม เกี่ยวกับงานจักรสาน
- ทำกิจกรรม สานกระด้ง จากตอก โดยคุณตาพี่โอม
- สืบค้นข้อมูล เตรียมอุปกรณ์และออกแบบโมเดล งานจักสาน
- นำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
ออกแบบงานสานที่ตนเองรู้จัก คนละ 1 ชิ้น ตามความสนใจ
- ร่วมกันเล่าถึงความสัมพันธ์ระหว่างงานสานของแต่ละคนกับตัวเอง
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคุณตาพี่โอมลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สืบค้นข้อมูล เตรียมอุปกรณ์และออกแบบโมเดล งานจักสานที่สนใจ และใช้ประโยชน์ได้จริง
- สร้าง งานจักสาน ตามรูปแบบโมเดลที่ออกแบบไว้
- นำเสนอชิ้นงาน

ชิ้นงาน
- โมเดลงานสาน
- งานสาน ตามความสนใจ
- ชาร์ตนำเสนอชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการประดิษฐกรรม (งานจักสาน) ที่มีความเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นและตนเอง

ทักษะ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- การวางแผนในการจัดเรียงข้อมูลที่น่าสนใจ วิเคราะห์ข้อมูลที่สืบค้น และการพัฒนางานสานในรูปแบบใหม่
ทักษะการICT
 การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับงานจักสานดังเดิม
ทักษะชีวิต
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องภูมิปัญญาด้านการประดิษฐกรรม ที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบงานสานในรูปแบบใหม่ สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง

คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

"""""""""""""
Week
input
Process
Output
Outcome




14 – 15

     
โจทย์
- ข้าวโป่ง
- อาหารอีสาน

Key  Questions
- นักเรียนคิดว่า จากสารคดีที่ได้ดูนั้น มีความสัมพันธ์กับชีวิตของเราอย่างไร
- นักเรียนคิดว่ากระบวนการทำ ข้าวโป่งของคนในสมัยก่อนมีขั้นตอนและเทคนิคการทำอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำข้าวโป่ง และการทำอาหารอีสาน
Brainstorm
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ เทคนิคการทำข้าวโป่ง ที่หลากหลาย และการปรับใช้วิธรการทำต่างของคนอีสานในสมัยก่อน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- สารคดี ข้าวปลาอาหาร ตอน เกษตรครบวงจร
- ข้าวโป่ง
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- บทความ เรือนธาตุ
- เรื่องเล่า ประวัติข้าวโป่ง
- เกมจับคู่บัตรคำ วัตถุดิบกับอาหาร
- อุปกรณ์สำหรับทำข้าวโป่งและอาหารอีสาน

- นักเรียนดูสารคดี ข้าวปลาอาหาร ตอน เกษตรครบวงจร
- ครูอ่านบทความ เรือนธาตุ
- นักเรียนชิม ข้าวโป่ง
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ เท่าๆกัน
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทำ ข้าวโป่งของคนในสมัยก่อน พร้อมเตรียมอุปกรณ์
- ทำขนม ข้าวโป่ง
- เล่นเกมจับคู่บัตรคำ วัตถุดิบกับอาหาร
- เลือกเมนูอาหารที่ได้จากเล่นเกม
- สืบค้นที่มา และวิธีการทำของอาหาร
- ปรุงอาหาร 
- นำเสนอ
-อภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้รูปแบบ ชาร์ตรูปภาพ
ภาระงาน
 - สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทำ ข้าวโป่งของคนในสมัยก่อน พร้อมเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำข้าวโป่ง
- ร่วมเล่นเกมจับคู่บัตรคำ วัตถุดิบกับอาหาร
- สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับ ที่มาและขั้นตอนกระบวนการทำอาหาร
- นำเสนอ อาหารที่ปรุงเรียบร้อยแล้ว ประกอบกับที่มาและเรื่องราวของอาหารอีสาน
- ร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านอาหารของคนภาคอีสาน ในรูปแบบ ชาร์ตรูปภาพ

ชิ้นงาน
- ชาร์ตภาพสรุปภูมิปัญญาด้านอาหารของคนภาคอีสาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- ที่มาและกระบวนการทำข้าวโป่ง (ขนมของคนอีสาน)
- เรื่องราวและกระบวนการทำอาหารอีสาน  ที่ใช้ภูมิปัญญาดั่งเดิมของคนในสมัยก่อน
ทักษะ
ทักษะการจัดการข้อมูล
การวางแผนในการสืบค้นข้อมูลและการเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำข้าวโป่งและอาหาร
อีสานเมนูต่างๆ
ทักษะการICT
 การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทำ ข้าวโป่งของคนในสมัยก่อนและอาหารอีสานเมนูต่างๆของคนอีสานดังเดิม
ทักษะชีวิต
 - สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองเกี่ยวกับการ
 - วิเคราะห์ขั้นตอนของการทำข้าวโป่งที่เกิดจากเทคนิคต่างๆของคนอีสานดั่งเดิม เช่นการใช้ เครือตดหมา มาช่วยให้เนื้อข้าวเหนียวผสมกันได้ดียิ่งขึ้น
ทักษะกาคิดสร้างสรรค์
สร้างสรรค์เมนูอาหารหรือขนมต่างๆ จากภูมิปัญญาดั่งเดิมได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนได้ร่วมกันทำข้าวโป่งและอาหารอีสาน

คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในนำภูมิปัญญาเดิมของคนอีสานในสมัยก่อนมาปรับใช้ และถ่ายทอดเรื่องราวผ่านกระบวนการทำจริง และเขียนสรุปในรูปแบบ ชาร์ตภาพได้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
input
Process
Output
Outcome




16 - 17

     
    
โจทย์
- ความเชื่อของคนโบราณ

Key  Question
นักเรียนคิดว่าความเชื่อที่เกิดขึ้นของคนโบราณ มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อของคนโบราณในสมัยก่อนที่มีผลต่อการดำรงชีวิตและเหตุผลต่อความเชื่อที่เป็นเพียงกุศโลบาย
Brainstorm
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ การวางแผนในการออกแบบกิจกรรม เพื่อลงพื้นที่สำรวจ เก็บข้อมูล และสัมภาษณ์ประเด็น ความเชื่อ และเหตุผลของคนในหมู่บ้านเพื่อศึกษา แนวคิด ที่มาและมุมมองของการกำเนิดความเชื่อ

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- เล่าเรื่อง ความเชื่อของคนโบราณและข้อห้าม
- เล่าเรื่อง “ 60 ความเชื่อ คนโบราณ
- ปราชญ์ชาวบ้าน 
(คุณตาพี่ ฟลุ๊ค ม.2)
- หมู่บ้านของนักเรียน
- กล้องถ่ายภาพและวีดีโอ
- ครูเล่าเรื่อง ความเชื่อของคนโบราณและข้อห้าม
- ครูเล่าเรื่อง “ 60 ความเชื่อ คนโบราณ
- ร่วมฟัง เรื่องราวความเชื่อของคนโบราณที่ มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตจากคุณตาพี่ ฟลุ๊ค ม.2
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆ
- ออกแบบตารางสำรวจ สำหรับเก็บข้อมูล และสัมภาษณ์ประเด็น ความเชื่อ และเหตุผลของคนในหมู่บ้านเพื่อศึกษา แนวคิด ที่มาและมุมมองของการกำเนิดความเชื่อ ต่างๆ
- ลงพื้นที่ทำกิจกรรม สรุป และนำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเชื่ออย่างมีเหตุผล ในรูปแบบ การ์ตูนช่อง
ภาระงาน
 - ออกแบบตารางสำรวจ สำหรับเก็บข้อมูล และสัมภาษณ์ประเด็น ความเชื่อ และเหตุผลของคนในหมู่บ้านเพื่อศึกษา แนวคิด ที่มาและมุมมองของการกำเนิดความเชื่อ
- กลุ่มสรุปกิจกรรมที่มาของความเชื่อ  จากการลงพื้นที่ พร้อมนำเสนอในรูปแบบที่แต่ละกลุ่มสนใจ อาทิเช่น คลิปวีดีโอ ชาร์ต Power point  ฯลฯ
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเชื่ออย่างมีเหตุผล ในรูปแบบ การ์ตูนช่อง

ชิ้นงาน
- คลิปวีดีโอ ชาร์ต Power point  ฯลฯ นำเสนอ กิจกรรมที่มาของความเชื่อ 
- การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
- ความเชื่อของคนโบราณในสมัยก่อนที่มีผลต่อการดำรงชีวิต
- การให้เหตุผลต่อความเชื่อที่เป็นเพียงกุศโลบาย

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการออกแบบกิจกรรม เพื่อลงพื้นที่สำรวจ เก็บข้อมูล และสัมภาษณ์ประเด็น ความเชื่อ และเหตุผลของคนในหมู่บ้านเพื่อศึกษา แนวคิด ที่มาและมุมมองของการกำเนิดความเชื่อ
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองเกี่ยวกับ ความเชื่อของคนโบราณในสมัยก่อนที่มีผลต่อการดำรงชีวิตและการให้เหตุผลต่อความเชื่อที่เป็นเพียงกุศโลบาย
ทักษะการICT
สรุปและนำเสนอชิ้นงาน อาทิเช่น คลิปวีดีโอ ชาร์ต Power point  ฯลฯ
ทักษะการจัดการข้อมูล
วิเคราะห์เหตุผลและปัจจัยการดำรงชีวิตของคนสมัยก่อน ที่ส่งผลให้เกิดความแนวคิดและเชื่อต่างๆ
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละกลุ่มมีการทำงานร่วมกันในกิจกรรมการลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล และแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน

คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบกิจกรรมเพื่อใช้สำหรับการลงพื้นที่ ที่จะต้องเก็บข้อมูลต่างๆ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ จากการลงพื้นที่ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น คลิปวีดีโอ ชาร์ต Power point ฯลฯ
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
input
Process
Output
Outcome




18 - 19

     
โจทย์
- นวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม

Key  Question
- นักเรียนคิดว่า ภูมิปัญญาที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่องมีผลต่อการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร

- นักเรียนคิดว่าเราสามารนำภูมิปัญญาดั่งเดิมของคนโบราณ มาพัฒนาให้เหมาะสมกับคนในปัจจุบันได้อย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิมของคนในสมัยก่อน ที่เหมาะสมกับคนในปัจจุบัน
Brainstorm
นักเรียนแต่ละคู่ ระดมความคิดเห็นเพื่อสร้างโมเดลแนวคิด และนวัตกรรมใหม่ ที่ถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถปรับใช้ได้ในปัจจุบัน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- อุปกรณ์สำหรับสร้างนวัตกรรมใหม่
- สืบค้นข้อมูลและออกแบบ โมเดลแนวความคิดและนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม ลงในกระดาษ A4 (ทำงานเป็นคู่)
- นำเสนอและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโมเดลแนวคิด นวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม
- เตรียมอุปกรณ์  และร่วมกันสร้างนวัตกรรมใหม่ที่ได้ออกแบบไว้
- นำเสนอชิ้นงาน และอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมใหม่ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ
ภาระงาน
 - สืบค้นข้อมูลและออกแบบ โมเดลแนวความคิดและนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม ลงในกระดาษ A4
- เตรียมอุปกรณ์  และร่วมกันสร้างนวัตกรรมใหม่ที่ได้ออกแบบไว้
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิมในรูปแบบ ที่ตนเองสนใจ



ชิ้นงาน
- โมเดลแนวความคิดและนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม
- นวัตกรรมใหม่ทางภูมิปัญญา
- ชาร์ตภาพ   การ์ตูนช่อง Mind Mapping ฯลฯ สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นวัตกรรมใหม่ ที่ถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถปรับใช้ได้ในปัจจุบัน

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการออกแบบโมเดลแนวความคิดและนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเอง อาทิเช่น ภูมิปัญญาดั่งเดิมและภูมิปัญญาใหม่ที่ได้จากการปรับประยุกต์
ทักษะการICT
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ภูมิปัญญาด้านต่างๆของคนในสมัยก่อน
ทักษะการจัดการข้อมูล
วิเคราะห์เหตุผลและปัจจัยการดำรงชีวิตของคนสมัยก่อน ที่ส่งผลให้เกิดความแนวคิดและภูมิปัญญาต่างๆ
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนมีการทำงานร่วมกันในกิจกรรมการออกแบบโมเดลและการนำเสนอข้อมูล พร้อมแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบโมเดลแนวความคิดและนวัตกรรมใหม่จากภูมิปัญญาเดิม
- สร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ จากการสร้างนวัตกรรมในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น ชาร์ตภาพ   การ์ตูนช่อง Mind Mapping ฯลฯ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
input
Process
Output
Outcome




20 - 21

     
   
โจทย์
สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้

Key  Question
- นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้ให้น่าสนใจควรเป็นอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้น่าสนใจ
Brainstorm
นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบและเตรียมอุปกรณ์ต่างๆเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาแต่ละด้าน
ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- อุปกรณ์และชิ้นงานด้านภูมิปัญญาต่างๆ
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม 5กลุ่ม
- แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาแต่ละด้าน
- เตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง 
- ประชาสัมพันธ์และนำเสนองาน
- นักเรียนและคุณครูร่วมพูดคุยเกี่ยวกับ สิ่งที่ได้เรียนรู้
ภาระงาน
- ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาแต่ละด้าน
- เตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
- นำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 1 ในรูปแบบ Mind Mapping และบันทึกประเมินตนเองลงในกระดาษ A4

ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ภาคเรียนที่ 1
ความรู้
กระบวนการนำเสนอและถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาแต่ละด้าน
ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
 - สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษาเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู
ทักษะการจัดการข้อมูล
วิเคราะห์เหตุผลและปัจจัยหลักของข้อมูลที่สำคัญสำหรับนำเสนอ จุดเด่นของวัฒนธรรมด้านต่างๆ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนมีการทำงานร่วมกันในกิจกรรมการออกแบบรูปแบบการนำเสนอ พร้อมแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน

คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและเตรียมอุปกรณ์เพื่อจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
 - สร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ จากการเรียนรู้และการสร้างนวัตกรรม
ในรูปแบบที่ตนเองในรูปแบบต่างๆได้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น